วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2551

บรรณานุกรมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์จีน-พม่า


บรรณานุกรมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์จีน-พม่า

บรรณานุกรมภาษาไทย

“กงสุลจีนเมิน ไม่รับหนังสือนักสิ่งแวดล้อมร้องคุมบริษัทเขื่อนจีนทำลายสิ่งแวดล้อมพม่า.” ประชาไทออนไลน์, 4 ธันวาคม 2550. เข้าไปที่ http://www.prachathai.com/; เข้าไปเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2551.

กลุ่มวิหคเหิร. บันทึกจากจีน: เอกสารการประชุมสภาผู้แทนประชาชนแห่งชาติสมัยที่ 1 ชุดที่ 5 ของสาธารณรัฐประชาชนจีน. กรุงเทพฯ: พิชัยยุทธ์การพิมพ์, 2522.

เขียน ธีระวิทย์. นโยบายต่างประเทศจีน. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2541.

----------------. เวียดนาม: สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง การเมือง และการต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2542.

“คำรายงานและคำปราศรัยของเจียงเจ๋อหมิน.” ใน สรรนิพนธ์เติ้งเสี่ยวผิง จีนจะไปทางไหน?, แปลโดย ดาวประกาย รุ่งอรุณ และบรรณาธิการโดย บุญศักดิ์ แสงระวี, 149-208. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2543.

จุลชีพ ชินวรรโณ. สู่สหัสวรรษที่ 3 กระแสเศรษฐกิจการเมืองโลกที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, 2542.

“ใจความสำคัญของการสนทนาที่อู่ชาง เซินเจิ้น จูไห่ และเซี่ยงไฮ้.” ใน สรรนิพนธ์เติ้งเสี่ยวผิง จีนจะไปทางไหน?, แปลโดย ดาวประกาย รุ่งอรุณ และบรรณาธิการโดย บุญศักดิ์ แสงระวี, 104-123. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2543.

เฉียนฉีเชิน. บันทึกการทูตจีน 10 เรื่อง. แปลโดย อาทร ฟุ้งธรรมสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2549.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. พม่า: ประวัติศาสตร์และการเมือง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย และธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน), 2544.

ฐิตวัชร์ เสถียรทิพย์ และจันทิมา วุฒิ. ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ. เอกสารกรมข่าวทหารบก, 12 กรกฎาคม 2547. เข้าไปที่ http://www.rta.mi.th/13200u/Myanmar/IDVMYNBAS00023.%20html; เข้าไปเมื่อ 1 กรกฎาคม 2551.

ฐิติพร จิระสวัสดิ์. นโยบายต่างประเทศของจีนต่อพม่าช่วงระหว่าง ค.ศ. 1988 – 1997. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

ดุลยภาค ปรีชารัชช. “เพียงมะนา เนปิดอว์ ราชธานีแห่งใหม่ของสหภาพพม่า.” ศิลปวัฒนธรรม, พฤศจิกายน 2550, 151-169.

ทรงฤทธิ์ โพธิ์เงิน. “ยูนนาน ประตูสู่ใต้ของจีน.” ผู้จัดการรายเดือน, ตุลาคม 2536, 178-190.

เทย์เลอร์, โรเบิร์ต เอช. รัฐในพม่า. แปลโดย พรรณงาม เง่าธรรมสาร และคณะ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2550.

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. “พม่ากับการเมืองระหว่างประเทศในเอเชีย.” ใน สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชาการเมืองระหว่างประเทศในเอเชีย หน่วยที่ 8-15, 467-526. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2529.

นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. พระราชพงศาวดารพม่า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2550.

ประทุมพร วัชรเสถียร. พฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของยุโรปตะวันออก: ปัญหาและการวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2527.

พรพิมล ตรีโชติ. ชนกลุ่มน้อยกับรัฐบาลพม่า. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2542.

พันธุ์สูรย์ ลดาวัลย์, มล. การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองพม่า. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2542.

พาย, ลูเชี่ยน ดับเบิ้ลยู. จีนสามยุค. แปลโดย คณิน บุญสุวรรณ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2547.

ภูวดล ทรงประเสริฐ. จีนโพ้นทะเลสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: แบรนด์เอจ, 2547.

“ยืนหยัดในสังคมนิยม ป้องกันการแปรเปลี่ยนอย่างสันติ.” ใน สรรนิพนธ์เติ้งเสี่ยวผิง จีนจะไปทางไหน?, แปลโดย ดาวประกาย รุ่งอรุณ และบรรณาธิการโดย บุญศักดิ์ แสงระวี, 96-98. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2543.

รัชนีกร บุญ-หลง. ภูมิศาสตร์การเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.

วรศักดิ์ มหัทธโนบล. “จีนกับสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ.” ใน พรพิมล ตรีโชติ และคณะ. รายงานการวิจัยเรื่องสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ: ความเป็นจริงและผลกระทบ, 19-77. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.

-----------------------. “การปฏิรูปจีน: ยุทธศาสตร์พื้นที่ทางเศรษฐกิจกับความขัดแย้งเชิงนโยบาย.” ใน จีน-ไทยในศตวรรษที่ 21, บรรณาธิการโดย วรศักดิ์ มหัทธโนบล, 105-152. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2542.

---------------------- . เศรษฐกิจการเมืองจีน. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2547.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน, อักษรศรี พานิชสาส์น และอวยพร สุธาทองไทย. หนึ่งมณฑล หนึ่งประเทศ: เศรษฐกิจจีน 11 มณฑลที่มีนัยสำคัญต่อไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผู้จัดการ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.

วิมลวรรณ ภัทโรดม. ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอินเดียสมัยใหม่กับสหรัฐอเมริกา (ค.ศ. 1947 – ค.ศ. 1980). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2532.

--------------------------. ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์, 2540.

วิไลเลขา ถาวรธนสาร. “Anti-Chinese Riots (1967): การจลาจลต่อต้านชาวจีนในพม่า (พ.ศ. ๒๕๑๐).” ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่ : เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2539.

สมร นิติทัณฑ์ประภาศ. สหรัฐอเมริกาในโลกปัจจุบัน (ค.ศ. 1945 – 1980) เล่ม 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2531.

----------------------------. สหรัฐอเมริกาในโลกปัจจุบัน (ค.ศ. 1945 – 1980) เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2531.

สุทธิดา มะลิแก้ว และนุศรา สวัสดิ์สว่าง. “จีนดูดการลงทุนเข้าชายแดน ใช้จุดขายความสัมพันธ์อันดีกับพม่า.” ผู้จัดการรายเดือน, กุมภาพันธ์ 2538, 130-139.

เสมอชัย พูลสุวรรณ. “รัฐฉาน” (เมืองไต): พลวัตของ “ชาติพันธุ์” ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมืองร่วมสมัย. รายงานวิจัยเสนอต่อโครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2546.

หม่าเย่า และคณะ. ประวัติศาสตร์ยูนนานสมัยใหม่. แปลโดย อุษา โลหะจรูญ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สร้างสรรค์, 2549.

อารยชน (นามแฝง). จีน 1980: นโยบายภายในและต่างประเทศปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศตวรรษ, 2523.

อุดม เกิดพิบูลย์. พม่าในความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ. เชียงใหม่: โชตนาพริ้นท์, 2549.

ฮอลล์, ดี. จี. อี. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สุวรรณภูมิ-อุษาคเนย์ภาคพิสดาร เล่ม 1. แปลโดย วรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคณะ, บรรณาธิการโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2549.



บรรณานุกรมภาษาอังกฤษ

Arnott, David. Burma-China Chronology to 1999. Available from http://burmalibrary.org/docs4/%20China-Burma_Chronology.pdf. Accessed 15 July 2008.

Bert, Wayne. “Chinese Policy toward Democratization Movements: Burma and the Philippines.” Asian Survey Vol. 30, No.11 (November 1990): 1066-1083.

Chen Jian. Mao’s China and the Cold War. Chapel Hill: The University of Northern Carolina Press, 2001.

“China donates to tsunami-hit Myanmar.” China Daily, 5 January 2005. Available at http://www.chinadaily.com.cn/english/doc/2005-01/05/content_406189.htm; accessed 16 January 2007.

“China Helps Myanmar Design Master plan for Industrial Zone.” Xinhua News Agency, 20 December 2005. Available at http://english.hanban.edu.cn/english/international/152520.%20htm; accessed 13 July 2008.

“China, India ‘key’ to junta.” Bangkok Post, 9 September 2007, section 1, 4.

“China-Myanmar economic, trade co-op makes new progress.” People’s Daily, 9 December 2007. Available at http://english.people.com.cn/90001/90776/90883/6317490.html; accessed 10 December 2007.

“China, Russia veto Myanmar resolution.” China Daily, 13 January 2007. Available at http://www.chinadaily.com.cn/china/2007-01/13/content_782772.htm; accessed 16 January 2007.

“China signs up to UN demand.” Bangkok Post, 13 October 2007, section 1, 4.

“China urges restraint from all parties in Myanmar.” Xinhua News Agency, 27 September 2007. Available at http://news.xinhuanet.com/english/2007-09/27/content_6802849.htm; accessed 27 September 2007.

“Chinese Consulate in Mandalay Attacked.” The Irrawaddy, 9 October 2007. Available at http://www.irrawaddy.org/print_page.php?art_id=8956; accessed 9 October 2007.

Chinese Embassy in Myanmar. “Exchange of Ministerial and Senior Visits (Year 2004).” Available at http://mm.china-embassy.org/eng/xwdt/t74778.htm; accessed 2 February 2007.

“Chinese firm to build hydro plants in Burma.” Bangkok Post, 6 May 2007, 3.

“Chinese gov’t special envoy ends Myanmar visit.” People’s Daily, 17 November 2007. Available from http://english.people.com.cn/90001/90776/90883/6304369.html; accessed 19 November 2007.

“Chinese provincial delegation, Myanmar hold business cooperation meeting.” People’s Daily, 30 March 2007. Available at http://english.people.com.cn/200703/30/eng20070330_362335.%20html; accessed 11 April 2007.

“Chinese relief materials arrive in Myanmar.” China Daily, 7 May 2008. Available at http://www.chinadaily.com.cn/china/2008-05/07/content_6668522.htm; accessed 12 May 2008.

“Chinese Ruili municipality delegation visits Myanmar.” People’s Daily, 4 December 2007. Available at http://english.people.com.cn/90001/90776/6314853.html; accessed 10 December 2007.

Dean, Karin. “Space and territorialities on the Sino-Burmese boundary: China, Burma and the Kachin.” Political Geography 24 (2005): 808-830.

“Demonstrators at Chinese Consulate Want Olympics Boycott.” The Irrawaddy, 4 October 2007. Available at http://www.irrawaddy.org/print_page.php?art_id=8889; accessed 4 October 2007.

“Driving Force.” Far Eastern Economic Review, Vol.155, No.16, 23 April 1992, 8.

Edwards, Penny. “Outside In: Sino-Burmese Encounters.” In China Inside Out: Contemporary Chinese Nationalism & Transnationalism, eds. Pal Nyiri and Joana Breidenbach. Budapest: Central Europrean University Press, 2004. Available at http://cio.hu/courses/CIO/%20modules/Modul09Edwards/print.html; accessed 14 July 2006.

“External Pressure.” Far Eastern Economic Review, Vol. 156, No.8, 25 February 1993, 9.

Fairbank, John King. “A Preliminary Framework.” In The Chinese World Order: Traditional China’s Foreign Relations, ed. John King Fairbank, 1-19. Cambridge, MA: Harvard University Press, 1974.

Haacke, Jurgen. Myanmar’s Foreign Policy: Domestic influences and international implications. London: The International Institute for Strategic Studies, 2006.

Han Nianlong et al. (eds). Diplomacy of Contemporary China. Hong Kong: New Horizon Press, 1990.

Hensengerth, Oliver. The Burmese Communist Party in the State-to-State Relations between China and Burma. Leeds: East Asia Papers No. 67, University of Leeds, 2005.

Hinton, Peter. “Resource Management in Yunnan Mekong Basin.” Asia Research Centre Working Paper No. 72, 1998.

“International cooperation curbs poppy planting in Golden Triangle.” People’s Daily, 22 May 2007. Available at http://english.people.com.cn/200705/22/print20070522_376860.html; accessed 18 June 2997.

The Irrawaddy. Chronology of Chinese-Burmese Relations. Chiang Mai: Irrawaddy Publishing Group, 2003. Available at http://www.irrawaddy.org/research_show.php?art_id=446. Accessed 8 October 2006.

Johnstone, William C. Burma’s Foreign Policy: A Study in Neutralism. Cambridge, MA: Harvard University Press, 1963.

“Joint Communique on the Establishment of Diplomatic Relations Between the People’s Republic of China and the United States of America, 1 January 1979.” In The State Council Information Office of the People’s Republic of China. 30 Years of Sino-US Relations, 120. Beijing: Xiyuan Publishing House and China Intercontinental Press, 2002.

Kramer, Tom. The United Wa State Party: Narco-Army or Ethnic Nationalist Party?. Washington, D.C.: East-West Center Washington, 2007.

Kristof, Nicholas D. “China Province Forges Regional Trade Links.” The New York Times, 7 April 1991. Available at http://query.nytimes.com/; accessed 17 April 2008.

Kuah Khun Eng. “Negotiating Central, Provincial, and County Policies: Border Trading in South China.” In Where China Meets Southeast Asia: Social and Cultural Change in the Border Region, eds. Grant Evans et al., 72-97. Bangkok: White Lotus Press, 2000.

Lintner, Bertil. The Rise and Fall of the Communist Party of Burma (CPB). Ithaca, NY: Southeast Asia Program, Cornell University, 1990.

------------------. “Burma and its Neighbours.” Paper presented at a conference in February 1992 at the Nehru Memorial Museum and Library, New Delhi. Available at www.asiapacificms.com; Accessed 27 July 2006.

Lixin Geng. “Sino-Myanmar Relations: Analysis and Prospects.” The Culture Mandala Vol.7, No. 2 (December 2006). Available at http://www.international-relations.com/CM7-2WB/Sino-Myanmar.htm; Accessed 16 January 2007.

Longmire, R.A. Soviet Relations with South-East Asia. London: Kegan Paul International, 1989.

MacFaquhar, Roderick. “The succession to Mao and the end of Maoism.” In The Cambridge History of China, Volume 15, The People’s Republic, Part 2: Revolutions within the Chinese Revolutions 1966-1982, eds. Roderick MacFarquhar and John K. Fairbank, 305-401. New York: Cambridge University Press, 1987.

Maung Aung Myoe. “Sino-Myanmar Economic Relations Since 1988.” Asia Research Institute Working Paper No. 86, April 2007.

The Ministry of Foreign Affairs of the People’s Republic of China. “Foreign Ministry Spokesman Qin Gang’s Regular Press Conference on 10 July 2007.” Available at http://www.fmprc.gov.cn/eng/xwfw/s2510/t339428.htm; accessed 21 July 2007.

The Ministry of Foreign Affairs of the People’s Republic of China. “State Councilor Tang Jiaxuan Meets with Special Envoy of SPDC Chairman of Myanmar.” 13 September 2007. Available at http://www.fmprc.gov.cn/eng/wjdt/wshd/t363133.htm; accessed 19 September 2007.

The Ministry of Foreign Affairs of the People’s Republic of China. “Foreign Ministry Spokesman Qin Gang’s Regular Press Conference on May 8, 2008.” Available at http://www.fmprc.gov.cn/eng/xwfw/s2510/t432941.htm; accessed 12 May 2008.

The Ministry of Foreign Affairs of the People’s Republic of China and the Party Literature Research Center under the Central Committee of the Communist Party of China. Mao Zedong on Diplomacy. Beijing: Foreign Languages Press, 1998.

Mya Maung. “On the Road to Mandalay: A Case Study of the Sinonization of Upper Burma.” Asian Survey Vol.34, No.5 (May 1994): 447-459.

“Myanmar Hopes to Learn from China in Building High-tech Park.” Xinhua News Agency, 18 February 2006. Available at http://www.china.org.cn/english/international/1585449.htm; accessed 13 July 2008.

Nakajima, Mineo. “Foreign relations: from the Korean War to the Bandung Line.” In The Cambridge History of China, Volume 14, The People’s Republic, Part 1: The Emergence of Revolutionary China 1949-1965, eds. Roderick MacFarquhar and John K. Fairbank, 259-289. New York: Cambridge University Press, 1987.

Ong, Russell. China’s Security Interests in the Post-Cold War Era. London: Curzon, 2002.

“Overseas Chinese in Myanmar condemn Chen Shui-bian for Taiwan independence remarks.” People’s Daily, 16 March 2007. Available from http://english.people.com.cn/200703/16/%20eng20070316_358035.html; accessed 11 April 2007.

Pan Qi. “Opening the Southwest: An Expert’s Opinion.” Beijing Review, 2 September 1985, 23. อ้างถึงใน ฐิติพร จิระสวัสดิ์. นโยบายต่างประเทศของจีนต่อพม่าช่วงระหว่าง ค.ศ. 1988 – 1997. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

Ramachandran, Sudha. “Myanmar plays off India and China.” Asia Times, 17 August 2005. Available at http://www.atimes.com/; accessed 26 September 2006.

Robinson, Thomas. “China confronts the Soviet Union: warfare and diplomacy on China’s Inner Asian frontiers.” In The Cambridge History of China, Volume 15, The People’s Republic, Part 2: Revolutions within the Chinese Revolutions 1966-1982, eds. Roderick MacFarquhar and John K. Fairbank, 218-301. New York: Cambridge University Press, 1987.

Rosenau, James N. “Toward the Study of National-International Linkages.” In Linkage Politics: Essays on the Convergence of National and International System, ed. James N. Rosenau, 44-66. New York: The Free Press, 1969.

Rui Wen. “Neighbors in Harmony: China-Myanmar relations based on trust and mutual understanding.” Beijing Review, 10 June 2004, 21-23.

Sai Kham Mong. Kokang and Kachin in the Shan State (1945-1960). Bangkok: Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University, 2005.

Selth, Andrew. “Chinese Military Bases in Burma: The Explosion of a Myth.” Griffith Asia Institute’s Regional Outlook Paper No. 10, 2007.

Shambaugh, David. “Peking’s Foreign Policy Conundrum Since Tienanmen: Peaceful coexistence vs. Peaceful evolution.” Issues & Studies 28 (November 1992): 65-85.

Sirin Phathanothai. The Dragon’s Pearl: Growing up among Mao’s Reclusive Circle. London: Pocket Books, 2006.

“Situation in Myanmar poses no threat to peace, security, China says.” Xinhua News Agency, 6 October 2007. Available at http://news.xinhuanet.com/english/2007-10/06/content_%206832826.htm; accessed 10 Octber 2007.

Spence, Jonathan D. “The K’ang-hsi Reign.” In The Cambridge History of China, Volume 9, Part One: The Ch’ing Empire to 1800, ed. Willard J. Peterson, 120-182. New York: Cambridge University Press, 2002.

Tin Maung Maung Than. “Myanmar and China: A Special Relationship?.” In Southeast Asian Affairs 2003, 189-210. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2003.

The United Nations’ Department of Public Information, News and Media Division. “Security Council notes Myanmar’s announcement on May referendum, elections in 2010; underlines needs for inclusive process, participation of all political actors.” 2 May 2008. Available at http://www.un.org/News/Press/docs/2008/sc9320.doc.htm; accessed 12 May 2008.

Wang Jun-fu. “Sino-Myanmar Relation and Its Prospects.” Paper presented at the conference on “Myanmar Towards the 21st Century: Dynamics of Continuity and Change” at Rimkok Hotel, Chaing Rai, Thailand, 1-3 June 1995.

Whiting, Allen S. “The Sino-Soviet Split.” In The Cambridge History of China, Volume 14, The People’s Republic, Part 1: The Emergence of Revolutionary China 1949-1965, eds. Roderick MacFarquhar and John K. Fairbank, 478-538. New York: Cambridge University Press, 1987.

Yahuda, Michael B. The International Politics of Asia-Pacific, 1945-1995. London: Routledge, 1996.


บรรณานุกรมภาษาจีน
(เรียงตามลำดับคำแปลในอักษรไทย แถวล่างเป็นชื่อเอกสารต้นฉบับภาษาจีน)

“จีนลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำในพม่าเป็นครั้งแรก สร้างเสร็จแล้วจ่ายไฟให้ทั้งสองประเทศ.” (จงกั๋วไจ้เหมี่ยนเตี้ยนโส่วซื่อโถวจือเจี้ยนสุ่ยเตี้ยนจ้าน เจิ้ยนเฉิงโห้วเซี่ยงเหลี่ยงกั๋วซ่งเตี้ยน) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 5 มกราคม 2007. เข้าไปที่ http://www.chinanews.com.cn/cj/tzcl/news/2007/01-05/848994.shtml; เข้าไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 2551.
“中国在缅甸首次投资建水电站 建成后向两国送电。” 中国新闻社,2007年1月 1日。http://www.chinanews.com.cn/cj/tzcl/news/2007/01-05/%20848994.shtml; 于2008年 5月12日获得。

“จีนและพม่าเตรียมสร้างท่อส่งก๊าซข้ามพรมแดนระหว่างกัน.” (จงกั๋วเหมี่ยนเตี้ยนคว่าจิ้งซูชี่กว่านเต้าไคสือโฉวเจี้ยน) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 24 มิถุนายน 2008. เข้าไปที่ http://www.chinanews.com.cn/cj/cyzh/news/2008/06-27/1294576.shtml; เข้าไปเมื่อ 28 กรกฎาคม 2008.
“中国缅甸跨境输气管道开始筹建。” 中国新闻社,2008年6月27日。http://www.chinanews.com.cn/cj/cyzh/news/2008/06-27/1294576.shtml; 于2008年7月28日获得。

“ทำไมพม่าย้ายเมืองหลวง? เปิดม่านปริศนาแห่งเมืองหลวงใหม่ของพม่า.” (เหมี่ยนเตี้ยนเว่ยเหอเชียนตู? เจี่ยไคเหมี่ยนเตี้ยนซินโส่วตูเสินมี่เมี่ยนซา) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 23 พฤษภาคม 2007. เข้าไปที่ http://www/chinanews.com.cn/gi/kong/news/2007/0523/941942.%20shtml; เข้าไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 2008.
“缅甸为何迁都?揭开缅甸新首都神秘面纱。” 中国新闻社,2007年5月23日。http://www/chinanews.com.cn/gi/kong/news/2007/05-23/%20941942.shtml; 于2008年5月12日获得。

“นายกรัฐมนตรีเวินเจียเป่าพบกับผู้นำเวียดนาม กัมพูชา และพม่า.” (เวินเจียเป่าหุ้ยเจี้ยนเยว่หนานเจี๋ยนผู่ไจ้เหมี่ยนเตี้ยนหลิงเต่าเหญิน) ประชาชนรายวัน (ฉบับต่างประเทศ) (เหญินหมินยื่อเป้า ไห่ว่ายป่าน), 20 พฤศจิกายน 2007, 8.
“温家宝会见越南柬埔寨缅甸领导人。” 人民日报(海外版),2007年11月20日,第8页。

“ผู้แทนของจีนไม่เห็นด้วยกับการนำเอาประเด็นการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยในพม่ามาทำให้เป็นเรื่องการเมือง.” (จงกั๋วไต้เปี่ยวปู้เชิงจ้านเจียงเหมี่ยนเตี้ยนจิ้วไจเวิ่นถีเจิ้งจื้อฮว่า) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 7 มิถุนายน 2008. เข้าไปที่ http:// www.chinanews.com.cn/gi/zgsy/news/2008/06-07/1275390.shtml; เข้าไปเมื่อ 18 มิถุนายน 2008.
“中国代表不称赞将缅甸救灾问题政治化。” 中国新闻社,2008年6月7日。http:// www.chinanews.com.cn/gi/zgsy/news/2008/06-07/1275390.shtml; 于2008年6月18日获得。

“พม่าสั่งปิดตายสมาคมจีนอายุกว่าร้อยปี.” (เหมี่ยนเตี้ยนเฟิงซาไป่เหนียนหัวซางเส้อถวน) เหวินหุ้ยเป้า (ฉบับประเทศไทย) (เหวินหุ้ยเป้า ไท่กั๋วป่าน), 30 พฤษภาคม 2007, 1.
“缅甸封杀百年华商社团。” 文汇报 (泰国版),2007年5月30日,第1页。

“ไล่ซงเซิง ประธานหอการค้าจีนประจำพม่า: การเข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกเป็นเกียรติสูงสุดของข้าพเจ้า.” (เหมี่ยนเตี้ยนหัวซางซางหุ้ยหุ้ยจ่างไล่ซงเซิง: ชานเจียอ้าวยุ่นซื่อหว่อจุ้ยต้าหญงกวาง) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 28 กรกฎาคม 2008. เข้าไปที่ http://www.chinanews.com.cn/hr/yzhrxw/news/2008/07-28/1326305.shtml; เข้าไปเมื่อ 28 กรกฎาคม 2008.
“缅甸华商商会会长赖松生:参加奥运是我最大荣光。” 中国新闻社,2008年7月28日。http://www.chinanews.com.cn/hr/yzhrxw/news/ 2008/07-28/1326305.shtml; 于2008年7月8日获得。

“เวินเจียเป่าและบราวน์สนทนาทางโทรศัพท์.” (เวินเจียเป่าอวี่ปู้หลางทงเตี้ยนฮว่า) ประชาชนรายวัน (ฉบับต่างประเทศ) (เหญินหมินยื่อเป้า ไห่ว่ายป่าน), 27 กันยายน 2007, 1.
“温家宝与布朗通电话。” 人民日报(海外版),2007年9月29日,第1页。

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำสหภาพพม่า. “การเดินทางเยือนพม่า 9 ครั้งของนายกรัฐมนตรีโจวเอินไหล.” (โจวเอินไหลจ๋งหลี่จิ่วซื่อฝ่างเวิ่นเหมี่ยนเตี้ยน) เข้าไปที่ http://mm.%20chineseembassy.org/chn/zmgx/zzgx/t258741.htm; เข้าไปเมื่อ 17 กรกฎาคม 2551.
中华人民共和国驻缅甸联邦大使馆。周恩来总理九次访问缅甸。 http://mm.chineseembassy.org/chn/zmgx/zzgx/t258741.htm。于2008 年7 月17 日获得。

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำสหภาพพม่า. “บทกวีแด่มิตรชาวพม่าของจอมพลเฉินอี้.” (เฉินอี้หยวนส้วยซือ เจิงเหมี่ยนเตี้ยนโหย่วเหญิน) เข้าไปที่ http://mm.chineseembassy.%20org/chn/zmgx/zzgx/t258742.htm; เข้าไปเมื่อ 17 กรกฎาคม 2551.
中华人民共和国驻缅甸联邦大使馆。陈毅元帅诗《赠缅甸友人》。http://mm.chineseembassy.org/chn/zmgx/zzgx/t258742.htm。于2008 年7 月17 日获得。

“สิ่งของบรรเทาทุกข์ฉุกเฉินชุดที่สองจากจีนถึงพม่าแล้ว คิดเป็นมูลค่า 5 แสนเหรียญสหรัฐฯ.” (จงกั๋วตี้เอ้อพีจิ่นจี๋หยวนจู้อู้จือยวิ่นตี่เหมี่ยนเตี้ยน เจี้ยจื๋อเยวียอู่สือว่านเหม่ยหยวน) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 9 มิถุนายน 2008. เข้าไปที่ http://%20www.chinanews.com.cn/gn/news/2008/05-09/1244556.shtml; เข้าไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 2008.
“中国第2批紧急援助物资运抵缅甸 价值约50万美元。” 中国新闻社,2008年5月9日。http://%20www.chinanews.com.cn/gn/news/2008/05-09/1244556.shtml; 于2008年5月12日获得。

“สิ่งของบรรเทาทุกข์ฉุกเฉินชุดที่สามจากจีนรวม 58 ตันถึงพม่าแล้ว.” (จงกั๋วตี้ซานพีอู่สือปาตุนจิ่นจี๋หยวนจู้อู้จือยวิ่นตี่เหมี่ยนเตี้ยน) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 11 พฤษภาคม 2008. เข้าไปที่ http://www.chinanews.com.cn/gj/yt/news/2008/05-11/1245184.shtml; เข้าไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 2008.
“中国第三批58吨紧急援助物资运抵缅甸。” 中国新闻社,2008年5月11日。http://www.chinanews.com.cn/gj/yt/news/2008/05-11/1245184.shtml; 于2008年5月12日获得。

“หอการค้าจีนประจำพม่าจัดงานฉลองการก่อตั้งครบ 96 ปี โดยมีเอกอัครราชทูตหลี่จิ้นจวินเข้าร่วมด้วย.” (เหมี่ยนเตี้ยนหัวซางซางหุ้ยชิ่งจู้เฉิงลี่จิ่วสือลิ่วโจวเหนียน หลี่จิ้นจวินต้าสือชูสี) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 6 มกราคม 2005. เข้าไปที่ http://%20www.chinanews.com.cn/news/2005/2005-01-06/26/525012.shtml; เข้าไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 2008.
“缅甸华商商会庆祝成立96 年 李进军大使出席。” 中国新闻社,2005 年1月6日。http://www.chinanews.com.cn/news/2005/2005-01-06/26/%20525012.shtml; 于2008年5月12日获得。

“หอการค้าจีนประจำพม่าจัดงานเลี้ยงอาหารค่ำฉลองการก่อตั้งครบ 98 ปี.” (เหมี่ยนเตี้ยนหัวซางซางหุ้ยจวี่สิงเหลียนหวนหว่านหุ้ย ชิ่งจู้เฉิงลี่จิ่วสือปาโจวเหนียน) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 1 มกราคม 2007. เข้าไปที่ http://www.chinanews.com.cn/hr/news/%202007/01-01/847879.shtml; เข้าไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 2008.
“缅甸华商商会举行联欢晚会 庆祝成立98 周年。” 中国新闻社,2007年1月1日。http://www.chinanews.com.cn/hr/news/2007/01-01/847879.shtml; 于2008年5 月12日获得。

“หอการค้าจีนประจำพม่าและสมาคมจีนรวมสามแห่งกลับมามีสถานะถูกต้องตามกฎหมายอีกครั้ง.” (เหมี่ยนเตี้ยนหัวซางซางหุ้ยเติ่งซานเจียหัวเฉียวถวนถี่อี่หุยฟู่เหอฝ่าตี้เว่ย) ศูนย์ข้อมูลข่าวเมืองเทียนจิน (จื้อเหนิงเทียนจิน), 31 พฤษภาคม 2007. เข้าไปที่ http://www.tjol.tv/news/ gjxw/2007-05-31/1180569966d217543.html; เข้าไปเมื่อ 13 พฤษภาคม 2008.
“缅甸华商商会等3家华侨团体已恢复合法地位。” 智能天津,2007年5月31日。http://www.tjol.tv/news/gjxw/2007-05-31/1180569966d217543.%20html; 于2008年5月13日获得。

“เอกอัครราชทูตจีนประจำพม่าเยี่ยมเยียนชาวจีนโพ้นทะเลที่ประสบภัยจากพายุไต้ฝุ่น.” (จงกั๋วต้าสือฟู่ เหมี่ยนเตี้ยนไถเฟิงจ้งไจชวีเว่ยเวิ่นโซ่วไจหัวเฉียวหัวเหญิน) สำนักข่าวแห่งประเทศจีน (จงกั๋วซินเหวินเส้อ), 12 มิถุนายน 2008. เข้าไปที่ http://www.chinanews.com.cn/hr/yzhrxw/news/%202008/06-12/1279347.shtml; เข้าไปเมื่อ 18 มิถุนายน 2008.
“中国大使赴缅甸台风重灾区慰问受灾华侨华人。” 中国新闻社,2008年6月1日。http://www.chinanews.com.cn/hr/yzhrxw/news/2008/06-12/1279347.shtml; 于2008年6月18日获得。

ไม่มีความคิดเห็น: