วันพุธที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2553

สัมมนาหัวข้อ “สงครามเย็นในประเทศไทย” วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เวลา 9.00 – 16.30 น. ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย








คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สัมมนาหัวข้อ “สงครามเย็นในประเทศไทย”
วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เวลา 9.00 – 16.30 น.
ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

8.30 – 9.00 ลงทะเบียน

9.00 – 9.10 กล่าวเปิดการสัมมนา โดย ผศ.ดร. วีระ สมบูรณ์
หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9.10 – 9.30 ปาฐกถานำ โดย สุลักษณ์ ศิวรักษ์

9.30 – 10.00 การนำเสนอบทความ
ประธานดำเนินรายการ: ผศ.ดร. พวงทอง ภวัครพันธุ์
“จากสงครามจิตวิทยาแบบอเมริกัน สู่การสร้าง "สัญลักษณ์" แห่งชาติภายใต้เงาอินทรี”
โดย ณัฐพล ใจจริง นิสิตปริญญาเอก ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“A Brief Period of Thai Democratization in the Cold War (1969 – 71)”
โดย รศ.ดร. กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.30 – 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง

10.45 – 11.15 การนำเสนอบทความ


“นัยสำคัญของการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหรัฐอเมริกาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช”
โดย สิทธิพล เครือรัฐติกาล นักศึกษาปริญญาเอก โครงการปริญญาเอกสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


11.15 – 12.15 อภิปราย และวิจารณ์บทความ
ผู้นำอภิปรายและผู้สรุปประเด็น: Professor Benedict Anderson

12.15 – 13.15 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.15 – 13.45 การนำเสนอบทความ
ประธานดำเนินรายการ: ผศ. สรวิศ ชัยนาม
“The Birth of the Cold Warriors: The Border Patrol Police and the Internationalisation of Cold War Politics in Thailand, 1951 – 1965”
โดย Sinae Hyun นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาประวัติศาสตร์ University of Wisconsin (Madison)
“Emergence of Right-Wing Politics in Thailand between October 1973 – October 1976”
โดย จิติยา พฤกษาเมธานันท์ นิสิตปริญญาเอก ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“Cold War Tourism to Thailand and Applying Value to the Thai Way of Life”
โดย Matthew Phillips นักศึกษาปริญญาเอก School of Oriental and African Studies (SOAS), University of London
14.45 – 15.00 พักรับประทานอาหารว่าง

15.00 – 16.00 อภิปราย และวิจารณ์บทความ
ผู้นำอภิปรายและผู้สรุปประเด็น: Professor Benedict Anderson

16.00 – 16.20 ปาฐกถาปิด โดย Professor Benedict Anderson

16.20 – 16.30 กล่าวปิดงานสัมมนา โดย ผศ. สุรัตน์ โหราชัยกุล
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและบริการวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


**ดำเนินรายการเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ**

วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553

ขอเชิญเข้าฟังการประชุมทางวิชาการ “เหตุเกิดในราชวงศ์หมิง” วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 8.00-16.00 น. ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

รูปบน: จักรพรรดิหย่งเล่อ รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์หมิง ครองราชย์ ค.ศ. 1402 - 1424

http://www.asia.tu.ac.th/china/News050253.htm

ขอเชิญเข้าฟังการประชุมทางวิชาการ
เหตุเกิดในราชวงศ์หมิง

วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 8.00-16.00 น.
ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์ 1
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
จัดโดย โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ร่วมกับ โครงการปริญญาโทวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กำหนดการ

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน

09.00 - 09.15 น. พิธีเปิด
กล่าวรายงาน
อ.รสสุคนธ์ ขันธ์นะภา
ประธานโครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กล่าวเปิดงาน
ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

09.15 - 10.15 น. ปาฐกถาเกียรติยศ
ผศ.ดร.สืบแสง พรหมบุญ
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต

10.15 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง

10.30 – 11.15 น. “นิยายกับธุรกิจการพิมพ์ในสมัยราชวงศ์หมิง”
ผศ.ดร. กนกพร นุ่มทอง
สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผู้วิจารณ์
ผศ.ถาวร สิกขโกศล
ที่ปรึกษาโครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

11.15 – 12.00 น. “เหตุเกิดในปลายสมัยหมิง: ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจในศตวรรษที่ 16 ถึงต้นศตวรรษที่ 17”
ดร. ปิยดา ชลวร
นักวิชาการอิสระ

12.00 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.30 – 14.15 น. “มุมมองของหมิง: การศึกษาภาพสะท้อนสังคมสยามในเอกสารประวัติศาสตร์จีนสมัยราชวงศ์หมิง”
อ.ดร. ปิยะมาศ สรรพวีรวงศ์
ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผู้วิจารณ์
รศ. วุฒิชัย มูลศิลป์
นายกสมาคมประวัติศาสตร์ฯ ภาคีราชบัณฑิต

14.15 – 15.00 น. “การศึกษาเบื้องต้นว่าด้วยการขัดเกลาจริยธรรมในปรัชญาของหวังหยังหมิง”
อ.ดร. ศริญญา อรุณขจรศักดิ์
ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้วิจารณ์
รศ.ดร. สุวรรณา สถาอานันท์
ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

15.00 – 15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง

15.15 – 16.00 น.
วิวาทะเกี่ยวกับสาเหตุการเดินเรือของเจิ้งเหอในต้นราชวงศ์หมิง
อ. สิทธิพล เครือรัฐติกาล
โครงการปริญญาเอกสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ผู้วิจารณ์
อ.ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี
ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

พิธีกร อ.ดร.สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์